ผลการศึกษาความคิดเห็นของผู้ปกครองที่มีต่อคุณครู ในประเด็นอบายมุข

ผลการศึกษาความคิดเห็นของผู้ปกครองที่มีต่อคุณครู ในประเด็นอบายมุข
เนื่องในวันครูแห่งชาติ 16 มกราคม 2557
โดย สำนักงานเครือข่ายองค์กร์งดเหล้า
 
 
ตารางที่ 1 แสดงพื้นที่การเก็บข้อมูล                                                                                กราฟที่ 1  แสดงพื้นที่การเก็บข้อมูล
 

ภาค จำนวน ร้อยละ
ภาคเหนือ (นครสวรรค์,  อุตรดิตถ์) 200 20.0
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ขอนแก่น,  นครราชสีมา) 200 20.0
ภาคกลาง (ราชบุรี,  สมุทรสาคร) 200 20.0
ภาคใต้  (นครศรีธรรมราช, สงขลา) 200 20.0
กรุงเทพฯ 200 20.0
รวม 1,000 100.0
 
จากตารางที่ 1 แสดงพื้นที่การเก็บข้อมูลกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นผู้ปกครองที่มีบุตรหลายอยู่ในวันรียน  ทั่วประทศ จำแนกได้เป็นรายภาค โดยเลือกเก็บกลุ่มตัวอย่างแต่ละพื้นที่  จำนวน 200 คน คิดเป็นร้อยละ 20.0
 
 
 
 
ตารางที่ 2  แสดงเพศของผู้ปกครองที่ตอบแบบสอบถาม                                                                     กราฟที่ 2  แสดงเพศของผู้ปกครองที่ตอบแบบสอบถาม 
 
 
เพศ จำนวน ร้อยละ
ชาย 482 48.2
หญิง 518 51.8
รวม 1,000 100.0
 
 
จากตารางที่ 2  แสดงเพศผู้ตอบแบบสอบถามเป็นเพศชาย จำนวน 482 คน คิดเป็นร้อยละ 48.2 
และเพศหญิง จำนวน 518 คน คิดเป็นร้อยละ 51.8
 
 
 
 
 
ตารางที่ 3  แสดงระดับการศึกษาของผู้ปกครองที่ตอบแบบสอบถาม                                                กราฟที่ 3  แสดงระดับการศึกษาของผู้ปกครองที่ตอบแบบสอบถาม

 
ระดับการศึกษา จำนวน ร้อยละ
ไม่ได้เรียน / ไม่จบประถมศึกษา 58 5.8
ประถมศึกษา 127 12.7
มัธยมศึกษาตอนต้น 154 15.4
มัธยมศึกษาตอนปลาย 221 22.1
อนุปริญญา / ปวส. 164 16.4
ปริญญาตรี 235 23.5
สูงกว่าปริญญาตรี 41 4.1
รวม 1,000 100.0
 
จากตารางที่ 3  แสดงระดับการศึกษาของผู้ปกครองที่ตอบแบบสอบถาม พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับปริญญาตรี จำนวน 235 คน คิดเป็นร้อยละ 23.5  รองลงมาจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 221 คน คิดเป็นร้อยละ 22.1  และระดับอนุปริญญา/ ปวส. จำนวน 164 คน คิดเป็นร้อยละ 16.4
 
  
ตารางที่ 4  แสดงระดับชั้นของบุตรหลานที่กำลังศึกษาอยู่                                                                    กราฟที่ 4  แสดงระดับชั้นของบุตรหลานที่กำลังศึกษาอยู่ 

 
ระดับชั้น จำนวน ร้อยละ
ประถมศึกษา 306 30.6
มัธยมศึกษาตอนต้น 255 25.5
มัธยมศึกษาตอนปลาย 257 25.7
อาชีวะศึกษา 182 18.2
รวม 1,000 100.0
 
จากตารางที่ 4 แสดงระดับชั้นของบุตรหลานที่กำลังศึกษาอยู่ ส่วนใหญ่ กำลังศึกษาอยู่ระดับประถมศึกษา จำนวน 306 คน คิดเป็นร้อยละ 30.6  รองลงมาระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 257 คน คิดเป็นร้อยละ 25.7  และระดับมัธยมศึกษาตอนต้น  จำนวน 255 คน คิดเป็นร้อยละ 25.5
 
  
 
 
ตารางที่ 5  แสดงการรับทราบว่า มีหน่วยงานจัดงานมอบรางวัลและยกย่อง                           กราฟที่ 5  แสดงการรับทราบว่า มีหน่วยงานจัดงานมอบรางวัลและยกย่อง
               “ครูดีไม่มีอบายมุข”                                                                                                      “ครูดีไม่มีอบายมุข”                                                                                                                                                                               
 
 
การรับทราบ จำนวน ร้อยละ
ทราบ 343 34.3
ไม่ทราบ 657 65.7
รวม 1,000 100.0
 
จากตารางที่ 5  แสดงจำนวนผู้ปกครองส่วนใหญ่รับทราบว่า มีหน่วยงานจัดงานมอบรางวัลและยกย่อง
“ครูดีไม่มีอบายมุข”  จำนวน 343 คน คิดเป็นร้อยละ 34.3  และไม่ทราบ จำนวน 657 คน คิดเป็นร้อยละ 65.7
 
ตารางที่ 6  แสดงความคิดเห็นกับการจัดงานมอบรางวัลและยกย่อง      “ครูดีไม่มีอบายมุข”                                                                                                                                                                                                                                                   
 
 
ความคิดเห็นกับการจัดงาน จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 972 97.2
ไม่เห็นด้วย 28 2.8
รวม 1,000 100.0
 
จากตารางที่ 6  แสดงว่าผู้ปกครองส่วนใหญ่เห็นด้วยที่มีการจัดงานมอบรางวัลและยกย่อง
“ครูดีไม่มีอบายมุข” จำนวน 972 คน คิดเป็นร้อยละ 97.2 และไม่เห็นด้วย จำนวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 2.8
 
ตารางที่ 7  แสดงเหตุผลที่เห็นด้วยกับการจัดงานมอบรางวัลและยกย่อง        “ครูดีไม่มีอบายมุข”                                                                                                                                                                               

 
เหตุผลที่เห็นด้วยกับการจัดงานมอบรางวัลและยกย่อง “ครูดีไม่มีอบายมุข” จำนวน ร้อยละ
 เป็นแบบอย่าง, เป็นตัวอย่างที่ดีให้เด็ก 213 21.3
ส่งเสริมคนดี, ให้กำลังใจกับคนทำความดี 108 10.8
ช่วยลดอบายมุข 10 1.0
ช่วยให้เด็กไม่ให้หลงผิด 10 1.0
เป็นสิ่งที่ครูสมควรที่จะต้องทำอยู่แล้ว 7 0.7
มีประโยชน์ต่อสังคม, ชุมชน 3 0.3
ช่วยส่งเสริมให้ครูใส่ใจในการสอนมากขึ้น 3 0.3
 
 
จากตารางที่ 7  แสดงเหตุผลที่ผู้ปกครองเห็นด้วยกับการจัดงานมอบรางวัลและยกย่อง “ครูดีไม่มีอบายมุข” ส่วนใหญ่ให้เหตุผลว่า เป็นแบบอย่าง เป็นตัวอย่างที่ดีให้เด็ก ร้อยละ 21.3  รองลงมา ส่งเสริมคนดี ให้กำลังใจกับคนทำความดี ร้อยละ 10.8  และช่วยลดอบายมุข และช่วยให้เด็กไม่ให้หลงผิด ร้อยละ 1.0
 
  
ตารางที่ 8  แสดงเหตุผลที่ไม่เห็นด้วยกับการจัดงานมอบรางวัลและยกย่อง                           กราฟที่ 8  แสดงเหตุผลที่ไม่เห็นด้วยกับการจัดงานมอบรางวัลและยกย่อง
               “ครูดีไม่มีอบายมุข”                                                                                                      “ครูดีไม่มีอบายมุข”                                                                                                                                                                               
 
เหตุผลที่ไม่เห็นด้วยกับการจัดงานมอบรางวัลและยกย่อง “ครูดีไม่มีอบายมุข” จำนวน ร้อยละ
เป็นจรรยาบรรณของครูอยู่แล้วที่ควรจะวางตัวให้ดี ถึงแม้จะไม่มีรางวัลให้ 6 0.6
เป็นคนดีหรือไม่ขึ้นอยู่กับเด็กแต่ละคน 4 0.4
โรงเรียนไม่มีอบายมุขอยู่แล้ว 3 0.3
ไม่เป็นประโยชน์สำหรับเด็ก 2 0.2
ทำให้ครูวางตัวลำบาก 1 0.1
 
 
จากตารางที่ 8  แสดงเหตุผลที่ผู้ปกครองไม่เห็นด้วยกับการจัดงานมอบรางวัลและยกย่อง “ครูดีไม่มีอบายมุข” เนื่องจาก เป็นจรรยาบรรณของครูอยู่แล้วที่ควรจะวางตัวให้ดี ถึงแม้จะไม่มีรางวัลให้ คิดเป็นร้อยละ 0.6  รองลงมา เป็นคนดีหรือไม่ขึ้นอยู่กับเด็กแต่ละคน  คิดเป็นร้อยละ 0.4 และ โรงเรียนไม่มีอบายมุขอยู่แล้ว คิดเป็น ร้อยละ 0.3
 
  
 
ตารางที่ 9  แสดงความกังวลต่อปัญหาอบายมุขที่จะกระทบต่อบุตรหลานภาพรวม                 กราฟที่ 9  แสดงความกังวลต่อปัญหาอบายมุขที่จะกระทบต่อบุตรหลาน

 
ความกังวลต่อปัญหาอบายมุข จำนวน ร้อยละ
กังวล 934 93.4
ไม่กังวล 66 6.6
รวม 1,000 100.0
 
 
จากตารางที่ 9  แสดงว่าผู้ปกครองมีความกังวลต่อปัญหาอบายมุขที่จะกระทบต่อบุตรหลาน จำนวน 934 คน  คิดเป็นร้อยละ 93.4  และไม่กังวล  จำนวน 66  คน  คิดเป็นร้อยละ 6.6
 
 
ตารางที่  10 แสดงความกังวลต่อปัญหาอบายมุขที่จะกระทบต่อบุตรหลาน                           กราฟที่ 10  แสดงความกังวลต่อปัญหาอบายมุขที่จะกระทบต่อบุตรหลาน    กลุ่มเด็กประถมศึกษา                                                                                                  กลุ่มเด็กประถมศึกษา  
 
 
ความกังวลต่อปัญหาอบายมุข จำนวน ร้อยละ
กังวล 290 94.8
ไม่กังวล 16 5.2
รวม 306 100.0
 
 
จากตารางที่  10  แสดงว่าผู้ปกครองมีความกังวลต่อปัญหาอบายมุขที่จะกระทบต่อบุตรหลาน  กลุ่มเด็กประถมศึกษา  จำนวน 290  คน คิดเป็นร้อยละ 94.8  และไม่กังวล จำนวน  16  คน
คิดเป็นร้อยละ  5.2
 
 
ตารางที่  11 แสดงความกังวลต่อปัญหาอบายมุขที่จะกระทบต่อบุตรหลาน                           กราฟที่ 11  แสดงความกังวลต่อปัญหาอบายมุขที่จะกระทบต่อบุตรหลาน  กลุ่มเด็กมัธยมศึกษาตอนต้น                                                                                        กลุ่มเด็กมัธยมศึกษาตอนต้น 
 
 
ความกังวลต่อปัญหาอบายมุข จำนวน ร้อยละ
กังวล 232 91.0
ไม่กังวล 23 9.0
รวม 255 100.0
 
 
จากตารางที่ 11 แสดงว่าผู้ปกครองมีความกังวลต่อปัญหาอบายมุขที่จะกระทบต่อบุตรหลาน  กลุ่มเด็กมัธยมศึกษาตอนต้น  จำนวน 232 คน  คิดเป็นร้อยละ 91.0 
และไม่กังวล  จำนวน 23  คนคิดเป็นร้อยละ  9.0
                                                                          
 
ตารางที่  12 แสดงความกังวลต่อปัญหาอบายมุขที่จะกระทบต่อบุตรหลาน                           กราฟที่ 12  แสดงความกังวลต่อปัญหาอบายมุขที่จะกระทบต่อบุตรหลาน  กลุ่มเด็กมัธยมศึกษาตอนปลาย                                                                                    กลุ่มเด็กมัธยมศึกษาตอนปลาย 

 
ความกังวลต่อปัญหาอบายมุข จำนวน ร้อยละ
กังวล 243 94.6
ไม่กังวล 14 5.4
รวม 257 100.0
 
 
จากตารางที่ 12  แสดงว่าผู้ปกครองมีความกังวลต่อปัญหาอบายมุขที่จะกระทบต่อบุตรหลาน  กลุ่มเด็กมัธยมศึกษาตอนปลาย  จำนวน 243  คน  คิดเป็นร้อยละ 94.6 
และไม่กังวล  จำนวน  14  คน  คิดเป็นร้อยละ  5.4
ตารางที่  13 แสดงความกังวลต่อปัญหาอบายมุขที่จะกระทบต่อบุตรหลาน                           กราฟที่ 13  แสดงความกังวลต่อปัญหาอบายมุขที่จะกระทบต่อบุตรหลานกลุ่มเด็กอาชีวะศึกษา                                                                                                  กลุ่มเด็กอาชีวะศึกษา
 
 
ความกังวลต่อปัญหาอบายมุข จำนวน ร้อยละ
กังวล 169 92.9
ไม่กังวล 13 7.1
รวม 182 100.0
 
 
 
จากตารางที่ 13  แสดงผู้ปกครองมีความกังวลต่อปัญหาอบายมุขที่จะกระทบต่อบุตรหลาน  กลุ่มเด็กอาชีวะศึกษา  จำนวน 169  คน  คิดเป็นร้อยละ 92.9 
และไม่กังวล จำนวน  13  คน  คิดเป็นร้อยละ  7.1
  
 
 
ตารางที่ 14 แสดงเหตุผลความกังวลต่อปัญหาอบายมุขที่จะกระทบต่อบุตรหลาน                  กราฟที่ 14 แสดงเหตุผลความกังวลต่อปัญหาอบายมุขที่จะกระทบต่อบุตรหลาน
ความกังวลต่อปัญหาอบายมุข จำนวน ร้อยละ
สังคมสมัยนี้ไม่มีความปลอดภัย เข้าถึงอบายมุข
ได้ง่าย
86 8.6
กลัวเด็กจะไม่เรียนหนังสือ กลัวเสียการเรียน เสียอนาคต 57 5.7
เด็กเชื่อคนง่ายกลัวจะเลียนแบบตัวอย่างที่ไม่ดี 40 4
อบายมุขทำให้ครอบครัวมีปัญหา/ ทำลายตัวเอง 26 2.6
กลัวติดยาเสพติด 19 1.9
อยากเห็นลูกเป็นคนดี 15 1.5
เข้าถึงสื่อได้ง่าย อาทิ สื่อออนไลน์ 8 0.8
ผู้ปกครองไม่มีเวลาดูแลลูกหลาน 5 0.5
เด็กสมัยนี้ดื้อ ไม่เชื่อฟัง 4 0.4
เพื่อนบางคนนิสัยที่ไม่ดี 3 0.3
ร้านเกมส์เยอะ, กลัวติดเกมส์ 2 0.2
ครูขาดความรับผิดชอบ 1 0.1
 
จากตารางที่ 14  แสดงเหตุผลที่ผู้ปกครองมีความกังวลต่อปัญหาอบายมุขที่จะกระทบต่อบุตรหลาน มากที่สุด คือ สังคมสมัยนี้ไม่มีความปลอดภัย เข้าถึงอบายมุขได้ง่าย   รองลงมา  กลัวเด็กจะไม่เรียนหนังสือ กลัวเสียการเรียน เสียอนาคต  และกลัวเด็กเชื่อคนง่าย กลัวจะเลียนแบบตัวอย่างที่ไม่ดี  เป็นต้น
 
 
 
ตารางที่ 15   แสดงเหตุผลความไม่กังวลต่อปัญหาอบายมุขที่จะกระทบ                                กราฟที่ 15   แสดงเหตุผลความไม่กังวลต่อปัญหาอบายมุขที่จะกระทบ  ต่อบุตรหลาน                                                                                                              ต่อบุตรหลาน
 
 
ความไม่กังวลต่อปัญหาอบายมุข จำนวน ร้อยละ
อบรมสั่งสอนเป็นประจำ 11 1.1
ครูเป็นแบบอย่างที่ดี 9 0.9
ลูกเป็นคนดี เชื่อฟังพ่อแม่ 5 0.5
เด็กสมัยนี้มีความคิดสามารถแยกแยะได้ว่าสิ่งไหนดีสิ่งไหนไม่ดี 3 0.3
สิ่งแวดล้อมรอบตัวที่ดี 1 0.1
 
 
จากตารางที่ 15  แสดงเหตุผลที่ผู้ปกครองไม่กังวลต่อปัญหาอบายมุขที่จะกระทบต่อบุตรหลาน ส่วนใหญ่ ให้เหตุผลว่า เพราะ อบรมสั่งสอนเป็นประจำ  รองลงมา ครูเป็นแบบอย่างที่ดี  และลูกเป็นคนดี เชื่อฟังพ่อแม่
  
ตารางที่  16 แสดงอบายมุขที่ผู้ปกครองเป็นห่วงมากที่สุด โดยภาพรวม                                กราฟที่ 16  แสดงอบายมุขที่ผู้ปกครองเป็นห่วงมากที่สุด โดยภาพรวม
 
อบายมุขที่ผู้ปกครองเป็นห่วงมากที่สุด จำนวน ร้อยละ
ใช้ยาเสพติด 651 65.1
การสูบบุหรี่ 461 46.1
การดื่มเหล้า / เบียร์ 439 43.9
การมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร 332 33.2
ทะเลาะวิวาท 285 28.5
ติดเกมส์ 268 26.8
มั่วสุม / ตั้งแก็งค์ 198 19.8
เล่นการพนัน 163 16.3
พูดจาหยาบคาย 112 11.2
ขับรถซิ่ง 107 10.7
ลักเล็กขโมยน้อย 95 9.5
อื่น ๆ 5 0.5
 
 
จากตารางที่ 16  แสดงอบายมุขที่ผู้ปกครองเป็นห่วงมากที่สุด คือ การใช้ยาเสพติด คิดเป็นร้อยละ 65.1  รองลงมา การสูบบุหรี่  คิดเป็นร้อยละ 46.1 
และ การดื่มเหล้า/เบียร์   คิดเป็นร้อยละ 43.9
 
  
ตารางที่  17 แสดงอบายมุขที่ผู้ปกครองเป็นห่วงมากที่สุด                                                   กราฟที่ 17  แสดงอบายมุขที่ผู้ปกครองเป็นห่วงมากที่สุด ในกลุ่มเด็กประถมศึกษา 5 อันดับแรก                                                                           ในกลุ่มเด็กประถมศึกษา 5 อันดับแรก

 
อบายมุขที่ผู้ปกครองเป็นห่วงมากที่สุด จำนวน ร้อยละ
ใช้ยาเสพติด 199 65.0
การสูบบุหรี่ 127 41.5
การดื่มเหล้า / เบียร์ 123 40.2
ติดเกมส์ 113 36.9
การมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร 112 36.6
 
จากตารางที่ 17  แสดงอบายมุขที่ผู้ปกครองเป็นห่วงมากที่สุด ในกลุ่มเด็กประถมศึกษา
คือ การใช้ยาเสพติด คิดเป็นร้อยละ 65.0  รองลงมา การสูบบุหรี่  คิดเป็นร้อยละ 41.5 
และ การดื่มเหล้า/เบียร์   คิดเป็นร้อยละ 40.2 
 
 
  
 
ตารางที่  18 แสดงอบายมุขที่ผู้ปกครองเป็นห่วงมากที่สุด                                                   กราฟที่ 18  แสดงอบายมุขที่ผู้ปกครองเป็นห่วงมากที่สุดในกลุ่มเด็กมัธยมศึกษาตอนต้น 5 อันดับแรก                                                                  ในกลุ่มเด็กมัธยมศึกษาตอนต้น  5 อันดับแรก
 
อบายมุขที่ผู้ปกครองเป็นห่วงมากที่สุด จำนวน ร้อยละ
ใช้ยาเสพติด 142 55.7
การสูบบุหรี่ 124 48.6
การดื่มเหล้า / เบียร์ 102 40.0
การมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร 85 33.3
ทะเลาะวิวาท 83 32.5
 
จากตารางที่ 18  แสดงอบายมุขที่ผู้ปกครองเป็นห่วงมากที่สุด ในกลุ่มเด็กมัธยมศึกษาตอนต้น
คือ การใช้ยาเสพติด คิดเป็นร้อยละ 55.7  รองลงมา การสูบบุหรี่  คิดเป็นร้อยละ 48.6 
และ การดื่มเหล้า/เบียร์   คิดเป็นร้อยละ 40.0 
 
 
ตารางที่  19 แสดงอบายมุขที่ผู้ปกครองเป็นห่วงมากที่สุด                                                   กราฟที่ 19  แสดงอบายมุขที่ผู้ปกครองเป็นห่วงมากที่สุดในกลุ่มเด็กมัธยมศึกษาตอนปลาย 5 อันดับแรก                                                              ในกลุ่มเด็กมัธยมศึกษาตอนปลาย  5 อันดับแรก

 
อบายมุขที่ผู้ปกครองเป็นห่วงมากที่สุด จำนวน ร้อยละ
ใช้ยาเสพติด 180 70.0
การสูบบุหรี่ 134 52.1
การดื่มเหล้า / เบียร์ 126 49.0
การมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร 85 33.1
ทะเลาะวิวาท 57 22.2
 
จากตารางที่ 19  แสดงอบายมุขที่ผู้ปกครองเป็นห่วงมากที่สุด ในกลุ่มเด็กมัธยมศึกษาตอนปลาย
คือ การใช้ยาเสพติด คิดเป็นร้อยละ 70.0  รองลงมา การสูบบุหรี่  คิดเป็นร้อยละ 52.1
และ การดื่มเหล้า/เบียร์   คิดเป็นร้อยละ 49.0
 
ตารางที่  20 แสดงอบายมุขที่ผู้ปกครองเป็นห่วงมากที่สุด                                                   กราฟที่ 20  แสดงอบายมุขที่ผู้ปกครองเป็นห่วงมากที่สุดในกลุ่มเด็กอาชีวะศึกษา  5 อันดับแรก                                                                           ในกลุ่มเด็กอาชีวะศึกษา  5 อันดับแรก

 
อบายมุขที่ผู้ปกครองเป็นห่วงมากที่สุด จำนวน ร้อยละ
ใช้ยาเสพติด 130 71.4
การดื่มเหล้า / เบียร์ 88 48.4
การสูบบุหรี่ 76 41.8
ทะเลาะวิวาท 73 40.1
การมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร 50 27.5
 
จากตารางที่ 20  แสดงอบายมุขที่ผู้ปกครองเป็นห่วงมากที่สุด ในกลุ่มเด็กอาชีวะศึกษา
คือ การใช้ยาเสพติด คิดเป็นร้อยละ 71.0  รองลงมา การดื่มเหล้า/เบียร์   คิดเป็นร้อยละ 48.4 
และ การสูบบุหรี่   คิดเป็นร้อยละ 41.8
 
  
ตารางที่  21 แสดงการพบเห็นพฤติกรรมของคุณครูที่เกี่ยวข้องกับอบายมุข                          กราฟที่ 21  แสดงการพบเห็นพฤติกรรมของคุณครูที่เกี่ยวข้องกับอบายมุข ในรอบ 1 ปี ที่ผ่านมา                                                                                                   ในรอบ 1 ปี ที่ผ่านมา  
 
 
การพบพฤติกรรมของคุณครู
ที่เกี่ยวข้องกับอบายมุข
จำนวน ร้อยละ
พบ 436 43.6
ไม่พบ 564 56.4
รวม 1,000 100.0
 
 
จากตารางที่ 21  แสดงการพบเห็นพฤติกรรมของคุณครูที่เกี่ยวข้องกับอบายมุข
ในรอบ 1 ปีที่ผ่านมา  จำนวน  436  คน  คิดเป็นร้อยละ 43.6  และไม่พบเห็นพฤติกรรม
จำนวน 564 คน  คิดเป็นร้อยละ 56.4 
 
ตารางที่ 22 แสดงพฤติกรรมของคุณครูที่เกี่ยวข้องกับอบายมุขที่พบเห็น                             กราฟที่ 22  แสดงพฤติกรรมของคุณครูที่เกี่ยวข้องกับอบายมุขที่พบเห็น
 
พฤติกรรมของคุณครูที่เกี่ยวข้อง
กับอบายมุขที่พบเห็น
จำนวน ร้อยละ
การสูบบุหรี่ 403 40.3
การดื่มเหล้า / เบียร์ 358 35.8
ซื้อหวย / ลอตเตอรี่ 193 19.3
การพูดจาหยาบคาย 174 17.4
ใช้ความรุนแรงกับเด็ก 83 8.3
เล่นการพนัน (บอล/เข้าบ่อน) 80 8.0
การล่วงละเมิดทางเพศต่อเด็ก 67 6.7
ใช้ยาเสพติด 52 5.2
เที่ยวกลางคืน 43 4.3
อื่น ๆ 1 0.1
 
 
จากตารางที่ 22  แสดงว่าพฤติกรรมที่พบเห็นคุณครูเกี่ยวข้องกับอบายมุข มากที่สุด คือ การสูบบุหรี่  คิดเป็นร้อยละ 40.3  รองลงมา  การดื่มเหล้า / เบียร์ คิดเป็นร้อยละ 35.8 และ การซื้อหวย / ลอตเตอรี่  คิดเป็นร้อยละ 19.3
 
 
  
ตารางที่  23 แสดงความกังวลของผู้ปกครองต่อพฤติกรรมครูที่เกี่ยวข้องกับอบายมุข              กราฟที่ 23  ความกังวลของผู้ปกครองต่อพฤติกรรมครูที่เกี่ยวข้องกับอบายมุข
ความกังวลของผู้ปกครองต่อพฤติกรรมครูที่เกี่ยวข้องกับอบายมุข จำนวน ร้อยละ
กังวล 827 82.7
ไม่กังวล 173 17.3
รวม 1,000 100.0
 
จากตารางที่ 23  แสดงว่าผู้ปกครองกังวลต่อพฤติกรรมครูที่เกี่ยวข้องกับอบายมุข จำนวน 827  คน
คิดเป็นร้อยละ 82.7  และไม่กังวล จำนวน 173  คน  คิดเป็นร้อยละ 17.3
 
 
 
ตารางที่ 24 แสดงเหตุผลที่กังวลต่อพฤติกรรมครูที่เกี่ยวข้องกับอบายมุข                             กราฟที่ 24  เหตุผลที่กังวลของผู้ปกครองต่อพฤติกรรมครู
เหตุผลที่กังวลต่อพฤติกรรมครูที่เกี่ยวข้องกับอบายมุข จำนวน ร้อยละ
เด็กเลียนแบบครู 146 14.6
มีข่าวสารเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้ความรุนแรง ขาดจริยธรรมของคนมากขึ้น 27 2.7
ครูอาจชักชวนให้ลูกหลานทำผิด หรือมาทำร้ายเด็กได้ 21 2.1
ทำให้ครูไม่มีประสิทธิภาพในการสอน/ กระทบต่อการเรียนของเด็ก 11 1.1
ประเทศชาติอาจจะไม่พัฒนา เพราะครูเป็นผู้สร้างคน 6 0.6
ทำให้ภาพลักษณ์ของครู ไม่มีความน่าเชื่อถือ/ เด็กไม่ให้ความเคารพ ไม่เชื่อฟัง 4 0.4
 
 
จากตารางที่ 24  แสดงเหตุผลที่ผู้ปกครองกังวลต่อพฤติกรรมครูที่เกี่ยวข้องกับอบายมุข มากที่สุด คือ เด็กเลียนแบบครู  คิดเป็นร้อยละ 14.6 
รองลงมา  มีข่าวสารเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้ความรุนแรง ขาดจริยธรรมของคนมากขึ้น คิดเป็นร้อยละ 2.7  และ ครูอาจชักชวนให้ลูกหลานทำผิด
หรือมาทำร้ายเด็กได้ คิดเป็นร้อยละ 2.1
 
 
 
ตารางที่ 25 แสดงเหตุผลที่ไม่กังวลต่อพฤติกรรมครูที่เกี่ยวข้องกับอบายมุข                          กราฟที่ 25  เหตุผลที่ไม่กังวลของผู้ปกครองต่อพฤติกรรมครู 
 
เหตุผลที่ไม่กังวลต่อพฤติกรรมครูที่เกี่ยวข้องกับอบายมุข จำนวน ร้อยละ
เชื่อว่าครูมีจรรยาบรรณ และวิจารณญาณในการกระทำสิ่งต่างๆ 29 2.9
เป็นเรื่องสิทธิส่วนบุคคล 21 2.1
เชื่อมั่นว่าลูกเป็นคนดีอยู่แล้ว 11 1.1
ครูไม่ได้มีพฤติกรรมไม่ดีในที่สาธารณะ/ ยังไม่เคยเห็นพฤติกรรมที่ไม่ดี หรือยุ่งเกี่ยวกับอบายมุขให้เห็น 7 0.7
เด็กอาจไปยุ่งเกี่ยวกับอบายมุข โดยเอาแบบอย่างจากที่อื่นได้ เช่น เพื่อน คนรอบข้าง สังคม เป็นต้น 2 0.2
โรงเรียนมีการกวดขันเรื่องอบายมุข หรือมีการลงโทษทางกฎหมาย 2 0.2
 
จากตารางที่ 25  แสดงเหตุผลที่ผู้ปกครองไม่กังวลต่อพฤติกรรมครูที่เกี่ยวข้องกับอบายมุข มากที่สุด คือ เชื่อว่าครูมีจรรยาบรรณ และวิจารณญาณในการกระทำสิ่งต่าง ๆ คิดเป็นร้อยละ 2.9  รองลงมา เป็นเรื่องสิทธิส่วนบุคคล  คิดเป็นร้อยละ 2.1  และเชื่อว่าลูกเป็นคนดีอยู่แล้ว คิดเป็นร้อยละ 1.1
 

ดาวน์โหลดเอกสารเพิ่มเติม1 : Download? (1.07 mb)

เขียนเมื่อ 15 มกราคม 2557 | อ่าน 26763
เขียนโดย admin

       
 
 
  อ่าน แวดวงวิถีพุทธ อื่นๆ
 
ประกาศผลการคัดเลือกโรงเรียนวิถีพุทธชั้นนำรุ่นที่13
ประกาศคัดเลือกโรงเรียนวิถีพุทธชั้นนำรุ่น 13 ปี2565
12/09/2565
เปิดอ่าน 17200
 
กิจกรรมวิถีพุทธ "ค่ายพุทธบุตร"
09/01/2567
เปิดอ่าน 886
 
ถวายเทียนร.รบ้านต้นโตนด/วสมเด้จหลวงพ่อทวด
29/07/2566
เปิดอ่าน 4466
 
ถวายเทียนโรงเรียนวัดบุพนิมิต
29/07/2566
เปิดอ่าน 4530
 
ถวายเทียนโรงเรียนบ้านนาเกตุ
29/07/2566
เปิดอ่าน 4413
 
ถวายเทียนโรงเรียนวัดอรัญวาสิการาม
29/07/2566
เปิดอ่าน 4387
 
ถวายเทียนวัดบันลือคชาวาส
29/07/2566
เปิดอ่าน 4364
 
ถวายเทียนโรงเรียนวัดภมรคติวัน
29/07/2566
เปิดอ่าน 4032
 
ถวายเทียนพรรษาโรงเรียนวัดทรายขาว
29/07/2566
เปิดอ่าน 3994
 
ถวายเทียนโรงเรียนบ้านปลักปรือ
29/07/2566
เปิดอ่าน 4010
 
 
 
 
   
   
   
   
   
   
   
   
   
   
   
   
   
   
   
   
   
   
เว็บไซต์และข้อมูลของโรงเรียนทุกโรงเรียนในเว็บไซต์นี้ สงวนลิขสิทธิ์ การนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์อื่นใด
ต้องได้รับการอนุญาต จากเจ้าของเว็บไซต์ก่อนเสมอ
 
สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา(สนก.)
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
ถนนราชดำเนินนอก เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300
โทรศัพท์ 02-288-5889-90 โทรสาร 02-288-5879
Powered by ThaiAppCenter.com ศูนย์รวมแอปมือถือไทย
โครงการสถานศึกษาวิถีพุทธ สำนักงานพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
79 หมู่ที่ 1 ถนนพหลโยธิน หลักกิโลเมตรที่ 55 ตำบลลำไทร
อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา รหัสไปรษณีย์ 13170
โทรศัพท์: 083 305 2392 |
เจ้าหน้าที่เว็บไซต์เข้าสู่ระบบ
พัฒนาเว็บไซต์โดย: สคูลจ๊อบ สมัครครู ประกาศรับสมัครครู สมัครงานโรงเรียน www.schooljob.in.th