หลักชาวพุทธ 12 ประการ
ปัจจุบัน ปัญหาสำคัญยิ่งอย่างหนึ่ง ซึ่งปรากฏชัดในสังคม คือการที่คนมากมายเป็นชาวพุทธกันเพียงในนาม โดยไ (27/01/2559)
แด่ ยุวชน
แด่ยุวชน....สามสิ่งที่เธอต้องเรียนรู้และฝึกฝนสามประการแรก คือ ศีล สมาธิ และปัญญา ผสมผสานเข้าไปในชีวิ (27/01/2559)
ปฏิญญากรุงเทพฯ ๒๕๕๘
เมื่อวันที่ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๒ ผู้แทน ๓๔ ประเทศได้เสนอต่อที่ประชุมสมัชชา สหประชาชาติให้วันวิสาขบูชา ซึ่งตรงกับวันเพ็ญเดือนพฤษภาคม เป็นวันสำคัญสากลของโลก และขอให้มีการจัดงานฉลองที่สำนักงานใหญ่องค์การสหประชาชาติ และสำนักงานประจำ ภูมิภาคต่างๆ ที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติได้มีมติรับรองตามนั้น (ในสมัยที่ ๕๔ วาระที่ ๑๗๔) (02/06/2558)
งานวิจัย : กระบวนปลูกฝังค่านิยมการบริโภคด้วยพุทธิปัญญาสำหรับวัยรุ่น
งานวิจัยนี้ได้รับการคัดเลือกในการนำเสนอผลงานในการประชุมวิชาการระดับชาติ มจร. ครั้งที่ ๑ MCU Congress 1 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เมื่อ วันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 ในหัวข้อพุทธบูรณาการเพื่อการพัฒนาจิตใจและปัญญา (15/03/2558)
ธรรมะรับอรุณ โดย ท่าน ว.วชิรเมธี
แผ่นดินนี้ ไม่อาจทำให้เรียบเสมอกันทั้งหมดได้ฉันใด มนุษย์ทั้งหลาย จะทำให้เหมือนทุกคนไม่ได้ฉันนั้น (09/02/2558)
สภาสากลวันวิสาขบูชาโลก เป็นที่ปรึกษาพิเศษของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติ
ส่วนงานของสหประชาชาติที่กำกับดูแลองค์กรนอกภาครัฐของคณะมนตรี เศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติได้มีหนังสือลงวันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๖ แจ้งให้ ทราบอย่างเป็นทางการว่า บัดนี้ สภาสากลวันวิสาขบูชาโลก (International Council for the Day of Vesak) ได้รับอนุมัติให้มีสถานะเป็นที่ปรึกษาพิเศษของคณะมนตรี เศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติ (22/09/2556)
หลักชาวพุทธ : ภูมิธรรมขั้นพื้นฐานเพื่อพัฒนาการแห่งชีวิตและสังคม
ปัจจุบันนี้ ปัญหาสำคัญยิ่งอย่างหนึ่ง ซึ่งปรากฏชัดในสังคม คือการที่คนมากมายเป็นชาวพุทธกันเพียงในนาม โดยไม่มีทั้งความรู้ และ การปฏิบัติของชาวพุทธ สภาพเช่นนี้เป็นเหมือนเมฆหมอกที่บดบังแสงสว่างและความงามแห่งคุณค่าของพระพุทธศาสนา นอกจากตัวบุคคลนั้น จะไม่เจริญงอกงามในธรรมแล้ว สังคมก็สูญเสียประโยชน์มากมายที่พึงได้จากพระพุทธศาสนา จึงเป็นปัญหาร้ายแรงที่ควรตื่นตัวขึ้นมาเร่งแก้ไข (20/07/2556)
ชาวพุทธมุ่งออกแบบระบบการศึกษาสำหรับการเป็นพลเมืองโลกยกประเทศภูฏานเป็นต้นแบบวิถีพุทธ
ธรรมของพระพุทธเจ้าคือการสอนที่ดีที่สุดแก่มวลมนุษยชาติ โดยพระองค์เองซึ่งเปรียบเหมือนแสงสว่างของพระอาทิตย์ที่ส่องสว่างไปทั่วทุกมุมของโลก โดยเท่าเทียมกันไม่ว่าจะเป็นชาติ ศาสนา คนรวย หรือคนจน เพื่อช่วยให้มนุษย์พ้นจากความทุกข์และพบความสุข (21/06/2556)
Holistic Education
Holistic education is a philosophy of education based on the premise that each person finds identity, meaning, and purpose in life through connections to the community, to the natural world, and to humanitarian values such as compassion and peace. Holistic education aims to call forth from people an intrinsic reverence for life and a passionate love of learning (29/05/2556)
การศึกษาแบบองค์รวม
หลักสูตรสาขาวิชา การศึกษาแบบองค์รวมนี้ จึงพยายามสร้างกระบวนทัศน์ใหม่ทาง การศึกษา และการฝึกหัดอบรมครู ให้สามารถเชื่อมโยงการเรียนรู้สาระวิชากับการสร้าง กระบวนการการเรียนรู้จากภายใน โดยการฝึกฝนปฏิบัติอย่างเป็นระบบและมีแบบแผนด้วยศาสตร์ ที่ครอบคลุมตั้งแต่การเรียนรู้จักตนเองอย่างลึกซึ้ง (Contemplative practices) (29/05/2556)
หลักสูตรสำหรับผู้เรียนท่ามกลางบริบทที่เปลี่ยนแปลงของสังคม
หลักสูตรที่พัฒนาขึ้นต้องมุ่งเน้นพัฒนาทักษะการคิด และทักษะชีวิตให้สอดคล้องกับวิถีชีวิต อาชีพ วัฒนธรรม สภาพแวดล้อมและทรัพยากรชุมชน ตลอดถึงเอกลักษณ์ความเป็นไทย วิถีไทย ให้ผู้เรียน มีความรู้ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ดำรงตนภายใต้ความพอเพียง และมีทักษะที่จำเป็นในการใช้ชีวิตอยู่ในสังคมไทยเพื่อร่วมกันสร้างสรรค์ให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ (29/05/2556)
ปรัชญาการเรียนรู้ที่ถูกต้องของมนุษย์ โดย รศ.ดร.เกียรติวรรณ อมาตยกุล
การที่คนเรามีปัญหา เกิดความเฉื่อยชา ไม่อยากที่จะเรียนรู้สิ่งต่างๆ ไม่มีความสุขและทำสิ่งที่ไม่ดีต่างๆ เนื่องมาจากข้อมูลจากสภาพแวดล้อมและการอบรมสั่งสอนที่ไม่ถูกต้องที่ถูกบันทึกไว้ในจิตใต้สำนึกของคนๆนั้นนั่นเอง พีอาร์ ซาร์การ์ ได้อธิบายโครงสร้างทางจิตของคนเราไว้แตกต่างจากนักจิตวิทยาตะวันตกเป็นอย่างมาก (29/05/2556)
'คนระลึกชาติ!'ที่หมู่บ้านตะคร้อที่พิสูจน์แล้ว
'คนระลึกชาติ!'ที่หมู่บ้านตะคร้อ ความมีอยู่จริงของอดีตชาติที่ได้รับการพิสูจน์แล้ว : เรื่องและภาพ โดยไตรเทพ ไกรงู (28/05/2556)
ชาวพุทธมุ่งออกแบบระบบการศึกษาสำหรับการเป็นพลเมืองโลกยกประเทศภูฏานเป็นต้นแบบวิถีพุทธ
22พ.ค.2556 ตามที่มหาวิทยลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (มจร.) ได้รับมอบหมายจากรัฐบาลและมหาเถรสมาคมจัดการกิจกรรมวันวิสาขบูชานานาชาติ ครั้งที่ 10 เรื่อง “การศึกษากับความเป็นพลเมืองโลก : มุมมองพระพุทธศาสนา” (28/05/2556)
ปฏิญญากรุงเทพฯ ๒๕๕๖ การประชุมชาวพุทธนานาชาติ ครั้งที่ ๑๐
เนื่องในวันวิสาขบูชา วันสำคัญสากลของโลก ระหว่างวันที่ ๒๑ – ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ณ ศูนย์การประชุมสหประชาชาติ กรุงเทพฯ และ พุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม (24/05/2556)
การประชุมสัมมนานานาชาติ เนื่องในวันวิสาขบูชา วันสำคัญสากลโลก ๒๕๕๖
โครงการจัดกิจกรรมวิสาขบูชานานาชาติครั้งที่ ๑๐ “การศึกษากับความเป็นพลเมืองโลก: มุมมองพระพุทธศาสนา”เนื่องในวันวิสาขบูชา วันสำคัญสากลของโลก ประจำปี ๒๕๕๖ ระหว่างวันที่ ๒๑ – ๒๒ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๕๖ ณ ศูนย์การประชุมสหประชาชาติ ถนนราชดำเนินนอก กรุงเทพมหานคร (08/05/2556)
การฟังอย่างลึกซึ้ง
โดย วิศิษฐ์ วังวิญญู หนังสือพิมพ์มติชน ฉบับประจำวันที่ 1 มิถุนายน 2555 (31/03/2556)
ทักษะการฟังอย่างลึกซึ้งเพื่อการเปลี่ยนแปลง
การสื่อสารอย่างสันติ ทำให้เราเห็นคนอื่นและเห็นตัวเราเอง เป็นการทำงานเพื่อทำให้ตัวเราและคนอื่นมีความสุข เป็นการสื่อสารอย่างกรุณา ใส่ใจ ให้คุณค่า กับความต้องการของทุกคน (31/03/2556)
เรียนรู้อย่างลึกซึ้ง
เรียนรู้อย่างลึกซึ้ง ลงมือปฏิบัติจริง ไม่ทิ้งการสื่อสาร กับการศึกษาทางเลือกใหม่ “สถาบันอาศรมศิลป์” (31/03/2556)
จิตตปัญญาศึกษา และการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง (Contemplative Education and Transformative Learning)
โดย จุมพล พูลภัทรชีวิน เครือข่ายจิตตปัญญาศึกษา ContemplativeEducation@yahoo.com คอลัมน์ ณ พรมแดนแห่งความรู้ หนังสือพิมพ์โพสต์ทูเดย์ ฉบับวันที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๕๒ (31/03/2556)
Liberal Arts Education หลักสูตร "สร้างคน" แบบบูรณาการ "ชีวิต"
ผู้เขียน : วินนี่ เดอะปุ๊ ----> ดร.ชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์ ประธานกรรมการบริหาร ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) (31/03/2556)
Liberal Arts Education หลักสูตร "สร้างคน" แบบบูรณาการ "ชีวิต"
คนเรียนที่ศิลปศาสตร์ที่จะต้องมีความรู้ ครอบคลุมทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านมนุษยศาสตร์ ด้านสังคมศาสตร์ และด้านวิทยาศาสตร์ (31/03/2556)
32 ข้อ ประเมินตนเอง ว่า "ตื่นรู้" มากแค่ไหน โดย Woraphat Phucharoen
หลายคนถามผมว่า ฝึกสติไปแล้ว วัดผลยังไง ผมก็ขอ อธิบาย ง่ายๆ เป็นข้อๆ เป็น checklist ง่ายๆ นะ นี่แหละ (19/03/2556)
ผู้นำ ๔ ทิศ
ผู้นำ ๔ ทิศ เป็นศาสตร์ของอินเดียนแดงที่จอร์จ เลกี (George Lakey) ได้นำมาถ่ายทอดให้ เสมสิกขาลัย เป็นการแบ่งคนตามบุคลิกภาพ ๔ แบบ ตามปกติบุคลิกภาพของคนจะปะปนกันหลายทิศในตัว แต่จะมีบางทิศโดดเด่นออกมาจึงเรียกว่าเป็นคนทิศนั้น (04/03/2556)
จริยธรรมประยุกต์ : การศึกษาเปี่ยมสติของผู้สอนและผู้เรียน
สติ เป็นปัจจัยสาคัญซึ่งมีผลต่อนักเรียน ครู และผู้บริหาร ผลงานวิจัยชี้ชัดว่า สติ ช่วยเพิ่มพูนสมาธิและความตั้งใจมากขึ้น รวมถึงความสามารถในการจัดการ การตัดสินใจ ภาวะอารมณ์ เข้าใจตนเองและตระหนักรู้ในความสัมพันธ์กับผู้อื่น เพิ่มพูนสุขภาวะ และ มีความสามารถในการผ่อนคลาย ลดความตึงเครียด ภาวะหดหู่ ความกังวล ความรู้สึกด้อยค่า และความรู้สึกเชิงลบต่างๆ (02/03/2556)
พุทธธรรม เพชรน้ำเอกในโลกพุทธศาสนา
พุทธธรรม เป็นหนังสือเล่มเดียวที่แสดงถึงหลักธรรมในพระพุทธ ศาสนาได้อย่างลุ่มลึกเป็นระบบและรอบด้านที่สุดเท่าที่เคยมีใน ภาษาไทย" (พระไพศาล วิสาโล, 2530) จากทรรศนะของนักปราชญ์ทางพระพุทธศาสนาที่มีต่อหนังสือ พุทธธรรมข้างบนนี้ คงไม่เป็นการเกินเลยแม้แต่น้อยหากจะกล่าว ว่า พุทธธรรมเป็นวรรณกรรมพุทธศาสนาที่ยอดเยี่ยมที่สุดและ เป็นเสมือนเพชรน้ำเอกในโลกพุทธศาสนา (27/02/2556)
พระอุบาลีเถระผู้ให้กำเนิดสยามวงศ์ในศรีลังกา
ในขณะที่ประเทศศรีลังการับเอาพระพุทธศาสนาจากประเทศไทยจนกลายเป็นนิกายที่สำคัญนิกายหนึ่งในศรีลังกาในปัจจุบันเรียกว่า “สยามวงศ์”หรือ “สยามนิกาย”ซึ่งเป็นหนึ่งในนิกายที่สำคัญนิกายหนึ่งในสามนิกายของพระพุทธศาสนาในศรีลังกาปัจจุบัน ประเทศไทยก็รับเอาพระพุทธศาสนาจากศรีลังกาเข้ามาจนกลายเป็น “ลังกาวงศ์” (24/02/2556)
260 ปี นิกายสยามวงศ์สู่ศรีลังกา
เมื่อ พ.ศ. 2294 (พ.ศ. 2293 ตามการนับแบบไทย) สามเณรผู้ใหญ่ชื่อสามเณรสรณังกรได้ทูลขอให้พระเจ้ากิตติราชสิงหะ กษัตริย์ลังกาในขณะนั้น ให้ส่งทูตมาขอนิมนต์พระสงฆ์จากเมืองไทย (กรุงศรีอยุธยา) ไปฟื้นฟูพระพุทธศาสนา ณ ลังกาทวีป สมัยนั้นตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ แห่งกรุงศรีอยุธยา พระเจ้าบรมโกศจึงได้ส่งพระสมณทูตไทยจำนวน 10 รูป มีพระอุบาลีเป็นหัวหน้า เดินทางมาประเทศลังกา มาทำการบรรพชาอุปสมบทแก่กุลบุตรชาวลังกาถึงสามพันคน ณ เมืองแคนดี้ (23/02/2556)
แฟ้มคดีธรรมกาย(ย้อนรอย) เป็น Case Study แก่เยาวชน
ในขณะที่กระแสการสร้างอีเวนท์ทางพระพุทธศาสนารายวัน เกิดขึ้นในประเทศไทย อย่างไม่เคยมีมาก่อน และไม่ปรากฏในพระไตรปิฎกนั้น ควรที่เราจะได้หวนมาศึกษา ให้รอบด้าน เพื่อว่า ความรู้เท่าทันรอบด้านจะช่วยให้เราตัดสินใจศรัทธาหรือไม่ก็เป็นอิสระ แต่การได้ข้อมูลที่ทั่วถึงรอบด้าน ก็เป็นสิ่งจำเป็น ข้อเขียนเหล่านี้ไม่ใช่การโจมตี ผู้เขียนมิได้เขียนเอง เพียงรวบรวมมาให้ทบทวนเท่านั้นเอง (06/02/2556)
จากหมู่บ้านพลัม..สู่..สวนโมกข์ กรุงเทพฯ
พุทธะ..หมายถึง ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ตราบใดที่ยังมีผู้ประพฤติธรรม โลกนี้จะไม่ว่างเว้นผู้บรรลุธรรม ไม่ว่าบุคคลนั้น จะอยู่ที่ไหน เป็นใคร เชื้อชาติใดก็ตาม เมื่อปฏิบัติถึง ปฏิบัติได้ เข้าถึงแก่นแห่งธรรม (05/02/2556)
ข้อฝึกอบรมสติ 5 ประการ(ศีล 5)..ตามแนวทางหมู่บ้่านพลัม
ข้าพเจ้าจะพยายามแปรเปลี่ยนความรุนแรง ความกลัว ความโกรธ รวมทั้งความสับสนในตัวเองและสังคม โดยละเว้นจากการบริโภค สิ่งที่เป็นพิษภัย เพื่อตัวเองและสังคม ข้าพเจ้าเข้าใจดีว่า การบริโภคที่ถูกต้องเหมาะสมนั้น เป็นสิ่งสำคัญในการเปลี่ยนแปลงตัวเองและสังคม (05/02/2556)
แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่สิบเอ็ด พ.ศ.2555-2559
ครอบคลุมทั้งการยกระดับคุณภาพและมาตรฐานผู้เรียน ครู คณาจารย์ บุคลากรทางการศึกษา และสถานศึกษา การผลิตและพัฒนาคุณภาพกำลังคนรองรับการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพการแข่งขันของประเทศ การส่งเสริมงานวิจัยและพัฒนาถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีและนวัตกรรม การขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษา และการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต (24/12/2555)
อัพยากตปัญหา เรื่องที่พระพุทธเจ้าไม่ทรงพยากรณ์
สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าจะทรงตอบธรรมเฉพาะที่เป็นประโยชน์ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อการตรัสรู้ เพื่อบรรลุพระนิพพาน ดังนั้นสาเหตุที่ไม่ทรงพยากรณ์อัพยากตปัญหา เพราะว่าเป็นปัญหาที่ลุ่มลึกตอบไปแล้วคนไม่เข้าใจก็ยิ่งจะงมงาย และไม่เป็นประโยชน์ ไม่เป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ ไม่เป็นไปเพื่อความหน่าย ไม่เป็นไปเพื่อความคลายกำหนัด(ราคะกิเลส) ไม่เป็นไปเพื่อความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ และเพื่อนิพพาน (23/12/2555)
เรื่องจริง ผ่านโครงการโพธิสัตว์น้อย ลูกร้องขอพ่อแม่เลิกเหล้า::::: หนูนุ่น "ผู้ชนะ"
เมื่อคุณแม่และน้องนุ่นได้มีโอกาสมาร่วมโครงการโพธิสัตว์น้อยลูกร้องขอพ่อแม่เลิกเหล้าที่ห้องประชุมหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล สพฐ. วันนั้นคุณพ่อของเธอก็ได้มอบของขวัญให้กับน้องนุ่นด้วยการเลิกดื่มเหล้าเช่นกัน ครอบครัวของน้องนุ่นเต็มไปด้วยความรัก ความอบอุ่น ปัญหาต่างๆ ที่ลูกเก็บไว้ในใจก็มลายหายไปจนหมดสิ้น (07/12/2555)
กรณีสันติอโศก โดย พระพรหมคุณาภรณ์ และคำพิพากษาศาลฎีกา
เพื่อเป็นข้อพิจารณาในการเลือกยึดถือและปฏิบัติ อย่างรู้เท่าทัน ในขณะที่กระบวนการเหมือนพุทธนี้ยังคงขับเคลื่อนอย่างไม่รามือ ชาววิถีพุทะต้องใช้ปัญญา เมื่อทราบแล้ว ก็จะนับถือ ศรัทธาหรือไม่ ก็ได้ (26/11/2555)
อ่านพระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๔๕ เล่ม (ปกสีฟ้า)
ทั้งออนไลน์และออฟไลน์ พร้อมทั้ง มิลินทปัญหา พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ โดย พระธรรมปิฎก(ป.อ. ปยุตฺโต) (28/10/2555)
พระธรรมโกศาจารย์ : พร้อมเปิดหลักสูตรการเรียนการสอนออนไลน์ทางพระพุทธศาสนาเป็นแห่งแรก
หลักสูตรบัณฑิตศึกษา ปริญญาโท สาขา การจัดการเชิงพุทธ เรียนออนไลน์ ที่เสนอสภามหาวิทยาลัยในครั้งนี้ กลุ่มเป้าหมาย คือ พระสังฆาธิการ ระดับเจ้าอาวาส รองเจ้าอาวาส ที่มีภาระดูแลวัดวาอาราม ไม่สะดวกที่จะเดินทางมาเรียนในห้องเรียน ให้สามารถเรียนผ่านอินเตอร์เน็ตได้" (27/10/2555)
ภาพยนต์พุทธประวัติ "พุทธศาสดา" ที่ตรงตามพระไตรปิฎก
ภาพยนตร์ พระพุทธประวัติพระพุทธเจ้า พระพุทธศาสดา สวยงาม น่าชม และฟรีเพื่อการศึกษา ได้รับการรับรองว่าตรงตามพระไตรปิฎกทุกประการ...ตามลิงค์ (26/10/2555)
ชาวพุทธ ควรได้ศึกาาพระไตรปิฎก เวบพระไตรปิฎกออนไลน์...
ไตรปิฎก 45 เล่ม : ค้นพระไตรปิฎก : ชาดก : พระพุทธประวัติ : พจนานุกรมพุทธศาสตร์ : ประวัติเอตทัคคะ : พระพุทธศาสนาจากพระโอษฐ์ : : พระอนาคตวงศ์ : หลวงปู่มั่น ภูริทตโต : อานิสงส์การทำบุญแบบต่างๆ : บทสวดมนต์ที่สำคัญ : (26/10/2555)
พุทธบริษัท ๔ ควรรู้เรื่องกฐิน
กลายเป็นหมายถึง เงินทองต้องหาเงินให้วัดเป็นจำนวนมากๆจึงจะทำ ซึ่งเป็นความเข้าใจผิดอย่างร้ายแรง เนื่องจากการปลูกฝังความเข้าใจผิดนี้ มีต่อเนื่องกันมาเป็นเวลายาวนาน ถ้าได้อ่านสิกขาในพระพุทธธรรมคำสอนแล้วจะรู้ว่า กฐิน หมายถึง ผ้าผืนใดผืนหนึ่งใน ๓ ผืน (24/10/2555)
สื่อการสอนพระพุทธศาสนา
ดาวน์โหลดสื่อการสอนพระพุทธศาสนามากมายในรูปแบบต่างๆฟรีที่นี่ (24/10/2555)
ลัทธิมิจฉาทิฏฐิ เกี่ยวกับสุขทุกข์และความเป็นไปในชีวิตของมนุษย์อยู่ ๓ ลัทธิ ซึ่งต้องระวังไม่ให้เข้าใจสับสน
๑. ปุพเพกตเหตุวาท การถือว่า สุขทุกข์ทั้งปวงเป็นเพราะกรรมเก่า (past-action determinism) เรียกสั้นๆ ว่า ปุพเพกตเหตุวาท (21/10/2555)
พุทธศาสน์เพื่อราษฎร: พุทธศาสนาที่ขึ้นต่อรัฐ (มหาเถร/ธรรมกาย)
การจัดโครงการปฏิบัติธรรม หรืองานมหกรรมทางศาสนาใหญ่ๆ ย่อมไม่เป็นปัญหาแต่อย่างใด หากกระทำกันโดยเอกชน ไม่ใช่ทำโดยใช้งบประมาณของรัฐ (ซึ่งเป็นภาษีของคนทุกศาสนา) และไม่ใช้กลไกรัฐในการเกณฑ์หรือระดมคนเข้าร่วมกิจกรรม (15/10/2555)
นิพพาน อนัตตา โดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)
นิพพาน อนัตตา โดย พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธศาสนิกชนทุกคน ควรจะตระหนักถึงความสำคัญในการรักษาหลัก การของพระพุทธศาสนาและเอาใจใส่รับผิดชอบในการทำหน้าที่รักษา สืบต่อพระพุทธศาสนา อย่าเห็นบุคคลมากกว่าธรรม... (30/09/2555)
''''สตีฟ จ็อบส์'''' ฉบับธรรมกาย กับปัญหาธรรมวินัยและการประยุกต์พุทธธรรม
แต่การอ้าง “ญาณวิเศษ” แบบเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย (เป็นต้น) ต่างหากที่อยู่พ้นขอบเขตของการใช้เหตุผล เป็นการยกสถานะของตนเองให้เหนือคนธรรมดาทั่วๆ ไป จึงไม่แปลกที่ท่านไม่เคยลงมาแลกเปลี่ยนถกเถียงกับเพื่อนมนุษย์ที่วิพากษ์วิจารณ์ท่านอย่าง “คนเหมือนกัน” ความไม่มีเหตุผลเช่นนี้ต่างหากที่ขัดแย้งกับธรรมชาติของสังคมประชาธิปไตย! (10/09/2555)
วัดพระธรรมกาย เผยแพร่คำสอนคลาดเคลื่อนไปจากหลักพระพุทธศาสนาหลายประการ
ข้อความบรรยายนี้ ได้เขียนไว้เพื่อเป็นทางแห่งการศึกษา ให้เกิดความเข้าใจที่ถูกต้อง พร้อมทั้งเป็นเหมือนคำขอร้องต่อชาววัดพระธรรมกาย ผู้ยังเห็นแก่พระพุทธศาสนา เมื่อรู้เข้าใจแล้ว จะได้หันมาร่วมกันทำบุญที่ยิ่งใหญ่ และสนองพระคุณบรรพบุรุษไทย ด้วยการรักษาพระธรรมวินัยให้บริสุทธิ์สืบไป (07/09/2555)
การศึกษาที่แท้จริง
การปลูกฝังให้ความรักเจริญงอกงามในจิตใจ ไม่สามารถทำได้ด้วยการบรรยายในชั้นเรียน แต่ด้วยการจัดบรรยากาศ การปฏิบัติต่อกัน และกิจกรรมหลากหลาย ให้เด็กได้ลงมือกระทำจริง (06/09/2555)
แนวคิดการบริหารการศึกษาตามหลักไตรสิกขากับแนวคิดตามทฤษฎีเชิงระบบ เป็นความสอดคล้องกันที่ลงตัว
ผลการเปรียบเทียบการใช้หลักไตรสิกขาและทฤษฎีเชิงระบบในการบริหารการศึกษา พบว่า มีความคล้ายกัน ๓ ด้าน (06/09/2555)
การจัดการศึกษาไทยตามแนวพุทธศาสนา 1
ชีวิตมนุษย์เป็นเพียงภพหนึ่ง หรือช่วงหนึ่งของกระบวนการชีวิตที่เป็นไปอย่างต่อเนื่องอยู่ตลอดเวลาของจิต ซึ่งจิตจะผลักดันชีวิตให้ดำเนินไปตามอวิชชา > ตัณหา > กิเลส > กรรม > วิบาก > แล้วก็ย้อนไปสร้างกิเลส กรรม วิบากต่อไปไม่มีที่สิ้นสุด (06/09/2555)
รายงานวิจัยเรื่อง “ผลของการให้คำปรึกษาจิตวิทยาแนวพุทธต่อการเปลี่ยนพฤติกรรมก้าวร้าวของนักเรียน” กรณีศึกษา : โรงเรียนฟ้าใสวิทยา
โรงเรียนจึงควรมีกิจกรรมกลุ่มที่ส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักควบคุมอารมณ์ ระบายความคับข้องใจในทางสร้างสรรค์ ลดการใช้ความรุนแรงแก้ปัญหา และให้รู้จักพูดคุยกันด้วยเหตุผล (06/09/2555)
การให้คำปรึกษาตามแนวพุทธศาสนา
เมื่อเราพบบุคคลใดบุคลหนึ่งมาขอคำปรึกษาในเรื่องต่างๆ เช่น ปัญหาครอบครัว ปัญหาการตัดสินใจเลือกกระทำหรือไม่กระทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ... (06/09/2555)
ศึกษาศาสตร์ตามแนวพุทธศาสตร์ ผศ.มานพ นักการเรียน
พระพุทธศาสนาถือว่าสรรพสิ่งและสรรพชีวิตเป็นศูนย์กลาง (All Beings Centred) ไม่ใช่มนุษย์เป็นศูนย์กลาง (Human Beings Centred ) ดังที่เข้าใจกันแต่เดิมอีกแล้ว (06/09/2555)
คิดนอกกรอบด้วย “พุทธศาสตร์สร้างสรรค์”: การเรียนรู้เชิงพุทธกับการพัฒนาการศึกษาไทย
การเรียนรู้ท่ามกลางการปฏิบัติ (หรือ Learning by Doing) ถูกนำมาใช้เป็นยุทธวิธีหลักในการเรียนการสอน อย่างเช่น หลักสูตรการปลูกข้าว ที่รวมเอาองค์ความรู้จากสาขาวิชาต่างๆ ทั้งวิทยาศาสตร์ ภาษาชีววิทยา ธรณีวิทยาภูมิศาสตร์ และสังคมวัฒนธรรม เข้าไว้ด้วยกัน เปิดโอกาสให้เด็กๆได้เรียนรู้จาก ประสบการณ์จริง ไม่ใช่รู้จากการอ่านตำราเพียงอย่างเดียว (06/09/2555)
สามแนวความคิดหลักจากการศึกษาตามนัยพุทธธรรม โดยศาสตราจารย์สุมน อมรวิวัฒน์
กระบวนการเรียนรู้ในชีวิตตามหลักพุทธศาสตร์ มีลักษณะเป็นกระบวนการเรียนรู้ที่แท้ โดยท่านกล่าวว่า “การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างแท้จริง เมื่อผู้เรียนได้สัมผัส สัมพันธ์ คิดวิเคราะห์และปฏิบัติฝึกย้ำซ้ำทวนอย่างต่อเนื่อง (กล่าวคือเกิดกระบวนการเผชิญสถานการณ์) จนหยั่งรู้ซึมซับสู่ภายในจิตใจ กลั่นกรอง เกิดเป็นปัญญาของตนเอง (06/09/2555)
พระพุทธศาสนากับการศึกษา
พระพุทธศาสนามิได้มีความหมายที่จะให้การศึกษาอบรมและการปฏิบัติธรรมอยู่อย่างในวัด เห็นได้จากตั้งแต่เริ่มประดิษฐานพระพุทธศาสนาเมื่อคราวส่งสาวกออกประกาศพระศาสนาว่า “ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงจาริกไป เพื่อประโยชน์และความสุขแก่ทวยเทพและมนุษย์ทั้งหลาย” นั่นคือเปิดโอกาสให้พุทธบริษัท4 ได้มีโอกาสศึกษา (06/09/2555)
“การศึกษาแนวพุทธปัญญา” โดย พระธรรมโกศาจารย์(ประยูร ธมฺมจิตโต)
พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่าต้องมีจักษุทั้งสองข้าง การจัดการศึกษาเช่นนี้เป็นต้นแบบที่ ทั่วโลกเอาเป็นตัวอย่าง อยากทำตาม เราจะทำทีเดียวไม่ได้ ต้องมีโรงเรียนพุทธปัญญานำร่อง (06/09/2555)
ปรัชญาทางการศึกษา
ปรัชญาการศึกษาเป็นความคิด ความเชื่อถือที่ใช้เป็นหลักในการคิด และการจัดหลักสูตรและการสอนให้แก่ผู้เรียน ดังนั้น ผู้ที่เป็นครูซึ่งมีบทบาทสำคัญในการจัดการเรียนการสอนให้แก่ผู้เรียน จึงจำเป็นต้องเข้าใจในเรื่องของปรัชญาการศึกษาด้วย (06/09/2555)
พุทธวิธีในการสอน
ที่มา : ทศวรรษธรรมทัศน์พระธรรมปิฏก หมวดพุทธศาสตร์ ผู้แต่ง พระธรรมปิฏก สำนักพิมพ์ ธรรมสภา พ.ศ. 2542 (06/09/2555)
เป้าหมายการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงพุทธ
การพัฒนาเพื่อให้มนุษย์มีชีวิตอันประเสริฐ ซึ่งจะต้องใช้หลักธรรมอริยสัจ 4 ซึ่งประกอบด้วยทุกข์ สมุทัย นิโรธ และมรรค “มรรค” คือหนทางแห่งการพ้นทุกข์ซึ่งก็คือชีวิตอันประเสริฐนั่นเอง (06/09/2555)
พุทธปรัชญาการศึกษา Buddhishic Philosophy of Education
พุทธปรัชญาการศึกษา คือ การพัฒนาขันธ์ 5 เพื่อให้ความโง่เขลาของผู้เรียนลดน้อยลงและหมดไปในที่สุด และให้อยู่ในสังคมอย่างเป็นคนเก่ง คนดี และคนมีความสุขในโลกปัจจุบันและอนาคต (06/09/2555)
พุทธศาสนาในฐานะรากฐานของวิทยาศาสตร์ 01
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) วัดญาณเวศกวัน ต.บางกระทึก อ.สามพราน จ.นครปฐม ปาฐกถาพิเศษ วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ ณ ห้องประชุมใหญ่ สำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัดโดย คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2534 จากหนังสือ ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง (03/09/2555)
วิทยานิพนธ์ ว.วชิรเมธี เกี่ยวกับกรณีวัดพระธรรมกาย
ในกรณีธรรมกายที่กล่าวมาทั้งหมดนั้น พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต) ได้ทำบทบาทที่สำคัญสองประการด้วยกัน บทบาทประการที่หนึ่งก็คือ การทำหน้าที่รักษาพระธรรมวินัยเอาไว้ให้บริสุทธิ์บริบูรณ์เหมือนเดิม และบทบาทแระการที่สองก็คือ การได้อุทิศตนเป็นแบบอย่างของชาวพุทธชั้นนำผู้มีศักยภาพพร้อมเต็มที่ที่จะทำหน้าที่รักษาไว้ซึ่งพระธรรมวินัยให้ยังยืนสืบต่อไปในอนาคตตราบนานเท่านาน บทบาททั้งสอประการนี้นอกจากจะช่วยให้กรณีธรรมกายคลี่คลายไปในทิศทางที่ดีแล้วยังก่อให้เกิดแรงบันดาลใจในการรักษา (01/09/2555)
มหาสติปัฏฐานสูตร
ขอให้เราใส่ใจในข้อปฏิบัติที่มีมาในพระไตรปิฎกอย่างชัดเจน มากกว่า การหลงไหลได้ปลื้มในคำสอนของอาจารย์รุ่นหลัง ที่กว่าจะค้นหาพระไตรปิฎกมาอ้างก็ยากยิ่ง.... (30/08/2555)
ฤาจะเรียกลัทธิ ช. นี้ว่าพุทธศาสนาได้ต่อไปหรือ??
ลูกศิษย์ชั้นในผู้ร่วมก่อตั้งวัดพระธรรมกาย เปิดเผยว่าเจ้าสำนักมีคำสอนเป็นลำดับชั้น คือเมื่อสาวกที่นับถือเกิดความลุ่มหลงมากแล้ว เขาก็จะสอนคำสอนลับพิเศษให้ทราบว่า แท้จริงแล้วเขาเป็นองค์อวตารของ '... (22/08/2555)
ข้อคิดพระไตรปิฏกของพระธรรมปิฎก ( ป.อ. ปยุตฺโต )
หนทางสุดท้ายที่ผู้สอนนิพพานเป็นอัตตาจะนำมาใช้ ก็คือ การอ้างว่าตนรู้อย่างนี้จากผลการ ปฏิบัติ ตนเองได้ปฏิบัติ แต่ผู้อื่นไม่ได้ปฏิบัติ (17/08/2555)
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) เพชรน้ำเอกแห่งวงการสงฆ์ในพระพุทธศาสนา
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต ) มีหลักการคิดและหลักการดำเนิน อันเป็นแบบอย่างที่ดีงามสำหรับเยาวชน บุคคลทั่วไปไม่ว่าชายหรือหญิง รวมทั้งสำหรับเพศบรรพชิต เป็นปราชญ์ผู้ทรงศีลและเพชรน้ำเอกแห่งวงการสงฆ์ ที่พึ่งแห่งพระพุทธศาสนาที่เคารพ ศรัทธาได้อย่างเต็มหัวใจโดยแท้จริง (17/08/2555)
Transformative Learning กับการพัฒนาผู้ใหญ่ระดับบริหาร
เป็นสิ่งที่มักมีอยู่ในตนเองมากกว่าจะมาจากภายนอก โดยการอ่างหนังสือ การตีความประสบการณ์จากการติดต่อสื่อสารและมนุษยสัมพันธ์ในวิถีทางของตนเอง เป็นลักษณะของกระบวนการในการตรวจสอบ การตั้งคำถาม การให้เหตุผลและการทบทวนการับรู้ต่าง ๆ เพื่อเรียกร้องหาความจริงที่สมบูรณ์แบบ และความหมายที่เป็นสากลซึ่งเป็นอิสระจากความรู้และจุดมุ่งหมายของการศึกษา ที่จำเป็นต้องค้นหาคำตอบที่ถูกต้อง (13/08/2555)
บทความที่ ๑๓๔: จิตตปัญญาศึกษาและการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง
โดยนัยนี้ จิตตปัญญาศึกษา (Contemplative Education) เป็นแนวคิดและแนวปฏิบัติ ส่วนการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง (Transformative Learning) เป็นเป้าหมาย (12/08/2555)
การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง(Transformative Learning)
การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง (Transformative Learning) ที่เน้นการเปลี่ยนแปลงสู่ความเข้าใจใหม่ ในระดับจิตใจ และจิตวิญญาณ การหยั่งรู้ถึงความจริงของความเปลี่ยนแปลง อันมีเหตุมีปัจจัยเชื่อมโยงสัมพันธ์กันเป็นหนึ่งเดียว เกิดความไว้วางใจ เกิดความรัก และพร้อมที่จะรับฟังอย่างลึกซึ้ง (12/08/2555)
ฟังด้วยหัวใจ
หลายต่อหลายครั้งที่เราบอกว่ารับฟังกันแต่ทำไมเราไม่เข้าใจความรู้สึกและความต้องการของกันและกันอย่างแท้จริงหรือว่าที่ผ่านมาแล้วเราฟังแค่เสียงที่ผ่านเข้าหูมาแต่ไม่เคยน้อมให้เสียงเหล่านั้นดังเข้ามาในจิตใจของเรา (28/05/2555)
กมธ.ศาสนาฯ วุฒิสภา ออกโรงต้าน “ธรรมกาย” จัดกิจสงฆ์เดินธุดงค์กลางเมือง
วันนี้ (2 เม.ย.) นางตรึงใจ บูรณสมภพ ส.ว.สรรหา ในฐานะประธานกรรมาธิการศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม วุฒิสภา กล่าวถึงกรณีที่วัดพระธรรมกายจัดงานเดินธุดงค์ธรรมชัยของพระสงฆ์ 1,500 รูป ระหว่าง 2-6 เม.ย. 55 นี้ในเขตปทุมธานี (24/04/2555)
ธรรมกายแจงส.ว.ติงธุดงค์กลางเมือง
วันอังคารที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2555 คม ชัด ลึก ธรรมกายแจงผ่านเว็บไซต์ กรณี ส.ว. ตรึงใจ ติงธุดงค์กลางเมือง ไม่เหมาะสม ด้าน ผอ.สำนักพุทธ ยันไม่ผิดหลักพุทธศาสนา มีการเผยแพร่หลักธรรม เปิดธุดงค์ 13 ตามแบบพระพุทธเจ้า (24/04/2555)
พลังเครือข่ายการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21
การสร้างเครือข่าย: ข้อค้นพบเกี่ยวกับวิธีการสร้างเครือข่ายที่ทั้งเขตพื้นที่การศึกษาและโรงเรียน สามารถนำไปใช้ได้รวมทั้งการประชุมนี้ทำให้เราเห็นว่า ทุกภาคส่วนมีเป้าหมายเจตนาเดียวกันกับเขตพื้นที่และโรงเรียนไม่ว่าจะเป็นมหาวิทยาลัย ชุมชน สังคม (11/04/2555)
เสนอแนะหลักสูตร กำหนดการ ธรรมะพัฒนาองค์กร สำหรับโรงเรียน
เพื่อเปิดโอกาสให้โรงเรียนต่างๆ ได้พัฒนาครูที่สอนด้วยจิตวิญญาณแห่งความเป็นครู ฝ่ายบริการฝึกอบรม จึงขอเสนอหลักสูตรการพัฒนาองค์กรในสถานศึกษา ซึ่งจะทำให้ครูมีพลัง ความสุขและความเข้าใจกันมากขึ้น (30/03/2555)
หลักชวพุทธ*จุดเริ่มจุดร่วม ที่มารวมกันรุ่งโรจน์*
ปัจจุบัน ปัญหาสำคัญยิ่งอย่างหนึ่ง ซึ่งปรากฏชัดในสังคม คือการที่คนมากมายเป็นชาวพุทธกันเพียงในนาม โดยไม่มีทั้งความรู้และการปฏิบัติของชาวพุทธ (21/02/2555)
‘ธรรมกาย’ องค์กรจัดตั้ง โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
‘ธรรมกาย’ เป็นขบวนการจัดตั้ง (organized) ชัดเจน ส่วนสำนักอื่นๆนอกนั้นเกือบทั้งหมดไม่เป็นการจัดตั้ง ต้องเข้าใจประเด็นนี้จึงจะเข้าใจ ‘พฤติกรรม’ ที่แตกต่างกัน (05/02/2555)
สิ่งสำคัญที่ ชาวโรงเรียนวิถีพุทธต้องชัดเจน คือ แนวทางธรรมกาย ไม่ใช่แนวทางพุทธที่ถูกต้อง
อยากให้ชาววิถีพุทธ ครูอาจารย์ ผู้บริหาร และศึกษานิเทศน์ได้ศึกษาให้ถ่องแท้ ตามลิงค์และคำสอน ความเห็นด้านล่างนี้ให้ชัดเจน ว่าการดำเนินงานโรงเรียวิถีพุทธจะต้องตรงตมวัตถุประสงค์ที่แท้จริงของพุทธศาสนา (05/02/2555)
บุหรี่กานพลู” ขายเกลื่อนภัยคุกคามใหม่ ฮ
นักวิชาการชี้ พบภัยคุกคามใหม่ “บุหรี่กานพลู” ฮิตในหมู่วัยรุ่น ขายเกลื่อนเมือง ห้าง ตลาดนัด ชุมชน แถมราคาถูก หลอกล่อให้เข้าใจผิดว่าพิษน้อย พบเสี่ยงเกิดมะเร็งมากกว่า มีสารทำให้ชาไม่สำลัก เด็กติดง่าย (01/02/2555)
“ครูสอนดี” ผู้อุทิศตนเพื่อเด็ก “ขาดโอกาส”
ปัจจุบันอาชีพ “ครู” ดูเหมือนว่าจะเป็นอาชีพสุดท้ายที่คนรุ่นใหม่หลายๆ คนใฝ่ฝันอยากจะเป็นทั้งนี้เนื่องจากภาพรวมของอาชีพนี้ที่ถูกมองว่าเป็นงานหนัก รายได้น้อย ไม่ได้มีหน้าตาหรือถูกยอมรับจากสังคม (01/02/2555)
สส. การเปิดรับข้อเสนอโครงการปี 2555
ปีงบประมาณ 2555 สสส. เปิดรับข้อเสนอโครงการตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2554 –30 มิถุนายน 2555 โดยกำหนดระยะเวลาในการพิจารณาตามขนาดวงเงินที่เสนอ ดังนี้ (01/02/2555)
เด็กไทยวิกฤต คุณธรรมลด - ก้าวร้าว
นักวิชาการจุฬาฯ ชี้ เด็กไทยวิกฤติหนัก ก้าวร้าว หมกมุ่นเรื่องเพศ ติดเกม ทำศัลยกรรม คุณธรรมและจริยธรรมลดฮวบ เดินตามก้นเกาหลี-ญี่ปุ่น (23/01/2555)
ปรัชญาและคุณธรรมสำหรับครู
คุณธรรมสำหรับครู ก็คือคุณงามความดีของบุคคลที่เป็นครู ซึ่งได้กระทำไปด้วยความสำนึกในจิตใจ โดยมีเป้าหมายว่าเป็นการกระทำความดี หรือเป็นพฤติกรรมทีดีซึ่งเป็นที่ยอมรับของสังคม (17/01/2555)
ครูคือผู้สร้างโลก
"ครูที่แท้จริง" ทำงานเพื่อช่วยโลก เพื่อยกโลก เพื่อสร้างโลก ไม่ได้ทำเพื่อเงินเดือน * พุทธทาสภิกขุ (17/01/2555)
การอบรม : งาน พลังกลุ่มและความสุข
งานเป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งของชีวิตหลายคนต้องอุทิศเวลากว่าครึ่งค่อนชีวิตไปกับการทำงานทว่าการทำงานในรูปแบบองค์กรนั้นมีปัจจัยมากมายที่อาจเข้ามาบั่นทอนพลังความสุขและประสิทธิภาพ (06/01/2555)
การสื่อสารอย่างสันติขั้นต้น
เสมสิกขาลัยมีความยินดียิ่งที่จะสนันสนุนการทำงานในด้านต่างๆเพื่อประโยชน์ในการเปลี่ยนแปลงสังคมให้ดีงามยิ่งขึ้นจึงเปิดโอกาสพิเศษสำหรับผู้ทำงานอุทิศตนเพื่อสังคม (06/01/2555)
เล่าเรื่อง MCU MODEL ชุมชน “ร่มธรรมนำสุข”
ชุมชน “ร่มธรรมนำสุข” เป็นศูนย์พักพิงสำหรับ “ผู้มีความเดือดร้อน” จากมหาอุทกภัยจังหวัดอยุธยา ซึ่งเป็นชื่อเรียกที่ผู้พักพิงในศูนย์แห่งนี้อยากให้เรียก เนื่องจากไม่ทำให้เขารู้สึกหดหู่มากเกินไป (12/12/2554)
เรื่องเล่าจากข้าราชบริพาร และผู้ติดตามถวายงาน
วันหนึ่งเสด็จฯ เขาค้อเปิดอนุสาวรีย์ พอเปิดอนุสาวรีย์เสร็จพระองค์ท่านก็ขอกลับไปที่พระตำหนักเพื่อจะทรงเปลี่ยนฉลองพระบาทเพราะเดี๋ยวจะไปดูงานในป่าในดง......... (06/12/2554)
A NEW EARTH โลกใหม่ ตื่นรู้สู่จุดหมายแห่งชีวิต โดย สายสวรรค์ ขยันยิ่ง
“…การไม่ต่อต้าน ไม่ตัดสิน และไม่ยึดติด คือลักษณะสามประการของชีวิตที่มีอิสระและตื่นรู้อย่างแท้จริง..”เข้าใจความหมายของคำว่า “ตื่นรู้”จากหนังสือเล่มนี้ (04/12/2554)
การสื่อสารอย่างสันติขั้นต้น
คุณเคยเจอปัญหาเช่นนี้ไหม ยิ่งคุยกับแฟนยิ่งทะเลาะกัน,มีเจ้านายแบบสุด ๆไม่เคยจะเข้าใจลูกน้อง,...การสื่อสารอย่างสันติอาจจะเป็นเครื่องมือหนึ่งที่คุณสามารถนำไปใช้คลี่คลายปัญหาการสื่อสารเหล่านี้ได้ (28/11/2554)

ทั้งหมด 98 รายการ 1 / 1
 
 
 
   
   
   
   
   
   
   
   
   
   
   
   
   
   
   
   
   
   
เว็บไซต์และข้อมูลของโรงเรียนทุกโรงเรียนในเว็บไซต์นี้ สงวนลิขสิทธิ์ การนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์อื่นใด
ต้องได้รับการอนุญาต จากเจ้าของเว็บไซต์ก่อนเสมอ
 
สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา(สนก.)
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
ถนนราชดำเนินนอก เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300
โทรศัพท์ 02-288-5889-90 โทรสาร 02-288-5879
Powered by ThaiAppCenter.com ศูนย์รวมแอปมือถือไทย
โครงการสถานศึกษาวิถีพุทธ สำนักงานพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
79 หมู่ที่ 1 ถนนพหลโยธิน หลักกิโลเมตรที่ 55 ตำบลลำไทร
อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา รหัสไปรษณีย์ 13170
โทรศัพท์: 083 305 2392 |
เจ้าหน้าที่เว็บไซต์เข้าสู่ระบบ
พัฒนาเว็บไซต์โดย: สคูลจ๊อบ สมัครครู ประกาศรับสมัครครู สมัครงานโรงเรียน www.schooljob.in.th